ไม่พบผลการค้นหา
“อดทน มีวินัย เสียสละ” พลเมืองญี่ปุ่น...ต้นแบบฝ่าวิกฤติชาติ
80 ปี ปฏิวัติประชาธิปไตย "ปฐมบทรัฐธรรมนูญ"
80 ปี ปฏิวัติประชาธิปไตย 'บทเรียนจากคณะราษฎร'
'ถ้ารู้ธรรมะพระพุทธเจ้า อาตมาคงไม่ติดคุก'
ความในใจภรรยา – ลูกชายจ่าเพียร
'อย่าดูเบาขยะ อาจทำให้เผด็จการอุดตันได้'
มองการเมืองระยะเปลี่ยนผ่าน : การต่อสู้ 2 ฝ่าย ที่ยังไม่รู้ชัยชนะ ?
เปิดรายงาน Human Rights Watch : จมดิ่งสู่หายนะ ?
“การเมือง” มาแล้วก็ไป อย่าใช้ “ตำรวจ” เป็นเครื่องมือรักษาฐานอำนาจ
ปิยบุตร แสงกนกกุล กฎหมาย vs กฎหมู่
ปล้นปืน 2 “การประกาศอำนาจเหนือรัฐของโจรก่อการร้าย”
นโยบายปราบยาเสพติด เพื่อไทย VS ประชาธิปัตย์ VS ภูมิใจไทย
“น้องธัญย์” เด็กหญิงหัวใจแกร่ง...กำลังใจมีไว้ให้ก้าวเดิน
''รัฐฉาน'' ยังไร้ชาติ - ''รัฐไทย'' ยังไร้สามัคคี
เปิดงานวิจัย “การเลือกฝ่ายทางการเมืองของพระสงฆ์ไทย”
ไทย- กัมพูชา สงครามเขตแดนครั้งสุดท้าย ?
ปรับองคาพยพ...ขบวนการเสื้อแดง
ทำอย่างไรให้ลูกเป็นเด็กสองภาษา
ธุรกิจบริหารจัดหาคู่
80 ปี ปฏิวัติประชาธิปไตย "เงื่อนไขปฏิวัติสุกงอม"
124 ปี เชษฐบุรุษประชาธิปไตย “พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา”
Apr 6, 2011 08:24

วันที่ 29 มีนาคม  2430  เป็นวันคล้ายวันเกิดของพลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา  นามเดิม พจน์ พหลโยธิน  นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 ของประเทศไทย   มีพิธีวางพวงมาลารำลึกถึงท่านที่ศูนย์การทหารปืนใหญ่ ค่ายพหลโยธิน อ.เมือง จังหวัดลพบุรี     ภายในค่ายพหลโยธินการจัดสร้างพิพิธภัณฑ์พลเอกพระยาพหลพยุหเสนา รวบรวมสิ่งของเครื่องใช้  เครื่องแบบ  เครื่องหมาย รูปภาพที่ทรงคุณค่าทางประวัติศาสตร์การเมืองการปกครอง

เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา แสดงตนเป็นหัวหน้าผู้ก่อการ และอ่านประกาศฉบับแรกของคณะราษฎร  มีใจความว่า

“การปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช คือการปกครองแบบพระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจด้วยพระองค์เอง ใครจะออกเสียงหรือ ความเห็นคัดค้านอย่างใดมิได้ทั้งสิ้น การปกครองแบบนี้ได้ปล่อยให้อาณาประชาราษฏร์เผชิญโชคชะตาทางเศรษฐกิจ และการภาษีต่าง ๆ ไปตามลำพัง ไม่ได้คิดหาทางแก้ไขบูรณะบ้านเมืองให้ดีขึ้น จะปล่อยให้บ้านเมืองปั่นป่วนวุ่นวาย และเป็นไปตามยถากรรมนั้นไม่พึงบังควรยิ่ง  เราจึงต้องการเปลี่ยนแปลงการปกครองให้พระมหากษัตริย์ทรงสถิตอยู่ใต้กฎหมาย”

พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี 5 สมัย  ตำแหน่งสุดท้ายที่รับ คือตำแหน่งแม่ทัพใหญ่ก่อนถึงอสัญกรรมในปี 2490    ภายหลังอสัญกรรม มีการตั้งชื่อถนน “พหลโยธิน”เพื่อรำลึกถึงคุณงามความดีของท่าน

Produced by VoiceTV

Voice TV
กองบรรณาธิการ วอยซ์ทีวี
184Article
76559Video
0Blog