ไม่พบผลการค้นหา
ทีดีอาร์ไอ วิเคราะห์เศรษฐกิจไทย ปี 55 ปัจจัยลบมากกว่าบวก
5ปี รัฐประหาร ไทยยังไม่พ้นความเสี่ยง
บ้านหลังแรก เพื่อคนจนหรือคนรวย
ลบล้างรัฐประหาร-เจตนารมณ์ ที่แท้กลุ่มนิติราษฎร์
ภูมิใจไทยเสนอ “ล้างมลทิน” เพื่อปรองดอง หรือฮั้วการเมือง
ขีดเส้นตายรัฐ 12 มิ.ย นิรโทษกรรม "เหยื่อ ม.112"
ประชาชนเสนอนายกฯ ทำประชาพิจารณ์ “แผนบริหารน้ำ”
ถกแนวพระราชดำริบริหารจัดการน้ำ
กระทรวงพลังงานเดินหน้าลุยแจกคูปอง 2,000 บาท ถึงสิ้นเดือน ก.พ.
นโยบายแก้บน...รถคันแรก
รถสองแถว ขีดเส้นตายรัฐขึ้นค่าโดยสาร 25 เม.ย.นี้
“พระรักเกียรติ” เสนอปฏิรูปองค์กรปราบทุจริต
คอป.เสนอปล่อยผู้ต้องหาคดีหมิ่นสถาบัน
ทุกข์ชาวนา จากภาวะน้ำท่วม
ประชาธิปัตย์พลาด ยุ "ปฏิวัติ" ไม่ขึ้น
พรรคเล็กขอโอกาสช่วยคนพิการและเน้นความสุขของประชาชน
“ปรองดอง” เพื่อดับไฟใต้
ฟ้องกลับ “มาร์ค” การเมืองระอุหลังน้ำลด
ชาวนาเห็นด้วยรับจำนำข้าว แต่ห่วงทุจริต
นักวิชาการคณะสถาปัตย์ฯ ธนบุรี เสนอให้มวลน้ำผ่านกรุงเทพ แต่ต้องคุมได้
สภาทนายความโต้นิติราษฎร์รัฐประหาร 19 ก.ย.49 ไม่สูญเปล่า
Sep 30, 2011 13:04

รายการ Hot Topic ประจำวันที่ 30 ก.ย. 54

 

ข้อเรียกร้องของคณะนิติราษฎร์ที่จะให้ลบล้างผลพวงของการทำรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 รวมทั้งเสนอให้ประกาศเป็นความสูญเปล่าจากการทำรัฐประหาร เพื่อสร้างมาตรฐานและมาตรการที่จะหยุดยั้งการทำรัฐประหารใหม่นั้น  ข้อเสนอดังกล่าว มีการโต้แย้งกันอย่างรุนแรง รวมทั้งสภาทนายความก็ออกมาคัดค้าน การที่สภาทนายความมีท่าทีไม่เห็นด้วยนั้น มีเหตุผลทางกฎหมายอย่างไร วันนี้ (30 กันยายน 2554) รายการ Hot topic ร่วมพูดคุยกับนายเจษฎา อนุจารี อุปนายกสภาทนายความ

 

นายเจษฎา กล่าวว่า แถลงการณ์ของคณะนิติราษฏร์ อาจทำให้ประชาชนเกิดความสับสนและไม่ความเข้าใจในระบอบประชาธิปไตย ทางสภาทนายความ จึงได้ออกแถลงการณ์  เพื่อให้ประชาชนเข้าใจกลไกทางการเมือง และกลไกของนักวิชาการบางท่านให้มากขึ้น และยืนยันว่า ทางสภาทนายความไม่เห็นด้วยกับการทำรัฐประหาร เพราะการทำรัฐประหารนั้น ทำให้ประเทศชาติต้องสะดุด ไม่สามารถเดินหน้าต่อไปได้ แต่กฎหมายหลังการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ก็ทำให้บ้านเมืองสงบสุข

 

ทั้งนี้ทางสภานายความ  ไม่เห็นด้วยในกรณีคณะนิติราษฎร์ชี้แจงว่าไม่ได้ให้ลบล้างรัฐธรรมนูญ ฯ ฉบับชั่วคราว ปี 2549และฉบับปี 2550ในการทั่วไป แต่ให้แก้ไขในส่วนนิรโทษกรรมการรัฐประหารนั้น สภาทนายความ  เห็นว่าเป็นการเลือกใช้หลักการที่เป็นประโยชน์ต่อกลุ่มที่ตนเองต้องการสนับสนุนเท่านั้น  ไม่ได้ยึดหลักการทั่วไป   ส่วนการจัดทำรัฐธรรมนูธขึ้นมาใหม่นั้น นายเจษฎา กล่าวอีกว่า จะต้องศึกษาและดูรายละเอียด ว่ามีความเหมาะสมหรือจำเป็นในขณะนี้ หรือไม่

 

Produced by Voice TV 

Voice TV
กองบรรณาธิการ วอยซ์ทีวี
187Article
76559Video
0Blog